Although the concept of placing 2 Tiers or 3 Tiers firewalls using different brands in each layer is no longer the best method because research has shown that the compromised system is not because of firewall leaks, but because of more faulty configurations, so in firewall design, it is better to look at how easy it is to manage because the chances of making configuration errors are less cost-effective than maintaining multiple brands at the same time. But there are many organizations that still need to have multiple Firewall Brands, whether for corporate policy reasons, with separate procurements as needed by the project or according to the purchasing bids that occur, as well or due to mergers, etc. Firewall Management technology is designed to facilitate the management of various Firewall Brands under the same security policies of the organization, no longer complicated because managing all Firewall Policies in the organization is completely within the same dashboard.
แม้ว่า Concept ของการวางระบบ Firewall แบบ 2 Tiers หรือ 3 Tiers โดยใช้ Brand ที่แตกต่างกันในแต่ละชั้นจะไม่ใช่วีธีการที่ดีที่สุดอีกต่อไปเพราะมีงานวิจัยออกมาบอกว่าการที่ระบบถูก Compromised นั้นไม่ใช่เพราะ Firewall รั่ว แต่เป็นเพราะการ Configured ที่ผิดพลาดมากกว่า ฉะนั้นในการออกแบบ Firewall จึงควรมองที่ความง่ายในการบริหารจัดการเพราะโอกาสที่จะทำให้เกิดความผิดพลาดในการทำ Configuration นั้นมีน้อยกว่าและประหยัดค่าใช้จ่ายกว่าการดูแลหลายๆ Brand พร้อมกัน แต่มีหลายองค์กรที่ยังจำเป็นที่จะต้องมี Firewall หลาย Brand อยู่ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลทางนโยบายขององค์กรก็ดี, มีการจัดซื้อที่แยกกันไปตามความจำเป็นของโครงการหรือตามการประมูลจัดซื้อที่เกิดขึ้นก็ดีหรือเกิดจากการควบรวมกิจการก็ดี เป็นต้น ทำให้จำเป็นที่จะต้องบริหารจัดการ Firewall หลากหลาย Brand ให้อยู่ภายใต้ Security Policies เดียวกัน ซึ่งเทคโนโลยี Firewall Management ถูกออกแบบมาเพื่ออำนวยความสะดวกให้การบริหารจัดการ Firewall หลากหลาย Brand ให้อยู่ภายใต้ Security Policies เดียวกันขององค์กรนั้นไม่ยุ่งยากซับซ้อนอีกต่อไปเพราะการบริหารจัดการ Firewall Policies ทุกตัวในองค์กรจะอยู่ภายใน Dashboard เดียวกันหมด